มาต่อไวยากรณ์ในมินนะ โนะ นิฮงโกะ บทที่ 24 กันครับ สวัสดีครับ ยินดีต้อนรับเข้าสู่รายการ ให้ Japanese รายการที่จะให้คุณรู้เรื่องราวเกี่ยวกับญี่ปุ่นมากขึ้น กับผม ซันชิโร่ เช่นเคยครับ หลักการไวยากรณ์ ไวยากรณ์ที่ 1 くれます คำว่า あげます ที่ได้เรียนในมินนะ โนะ นิฮงโกะ 1 บทที่ 7  จะไม่ใช้ในกรณีที่บุคคลอื่นให้สิ่งใดสิ่งหนึ่งแก่ผู้พูด (ฉัน) หรือบุคคลในครอบครัวของผู้พูด (ฉัน)

วันนี้เรามาดูไวยากรณ์ในหนังสือมินนะ โนะ นิฮงโกะ บทที่ 22 กันครับ สวัสดีครับ ยินดีต้อนรับเข้าสู่รายการ ให้ Japanese รายการที่จะให้คุณรู้เรื่องราวเกี่ยวกับญี่ปุ่นมากขึ้น กับผม ซันชิโร่ เช่นเคยครับ ไวยากรณ์ 1. ประโยคย่อยขยายคำนาม เราเคยเรียนวิธีขยายคำนามไปแล้วในมินนะ โนะ นิฮงโกะ เล่ม 1 บทที่ 2 และ บทที่ 8 โดยใช้ の、คำคุณศัพท์ イ และคำคุณศัพท์

มาดูไวยกรณ์ในหนังสือ มินนะ โนะ นิฮงโกะ บทที่ 21 เป็นตอนที่ 2 กันครับ สวัสดีครับ ยินดีต้อนรับเข้าสู่รายการ ให้ Japanese รายการที่จะให้คุณรู้เรื่องราวเกี่ยวกับญี่ปุ่นมากขึ้น กับผม ซันชิโร่ เช่นเคยครับ หลักไวยกรณ์ 3. でしょう? คำกริยา       คำคุณศัพท์ い รูปธรรมดา でしょう? … ใช่ไหม

มาดูไวยกรณ์ในหนังสือ มินนะ โนะ นิฮงโกะ บทที่ 21 เป็นตอนแรกกันครับ สวัสดีครับ ยินดีต้อนรับเข้าสู่รายการ ให้ Japanese รายการที่จะให้คุณรู้เรื่องราวเกี่ยวกับญี่ปุ่นมากขึ้น กับผม ซันชิโร่ เช่นเคยครับ หลักไวยกรณ์ 1. รูปธรรมดา `と思います คิด (ว่า), คาด (ว่า) เนื้อหาที่เกี่ยวกับความคิดและการตัดสินใจจะชี้ด้วยคำช่วย と มีวิธีการใช้ดังนี้ 1) แสดงการคาดคะเนหรือการคาดเดา あした雨が降ると思います คิดว่าพรุ่งนี้ฝนจะตก

หลังจากดูการพูดรูปธรรมดากันไปคร่าว ๆ แล้ว ในวันนี้จะมาอธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับการพูดรูปต่าง ๆ ครับ สวัสดีครับ ยินดีต้อนรับเข้าสู่รายการ ให้ Japanese รายการที่จะให้คุณรู้เรื่องราวเกี่ยวกับญี่ปุ่นมากขึ้น กับผม ซันชิโร่ เช่นเคยครับ หลักไวยกรณ์ 3. บทสนทนาที่ใช้รูปธรรมดา (กันเอง) 1) ประโยคคำถามของรูปธรรมดา (กันเอง) โดยมากมักจะละคำช่วย か และขึ้นเสียงสูงที่ท้ายประโยค เช่น 飲む? หรือ 飲んだ? コーヒーを飲む? ดื่มกาแฟไหม うん、飲む。

  รูปที่เราเรียนมาจนถึงตอนนี้ส่วนใหญ่เป็นการพูดจาแบบสุภาพหมดเลย จากนี้ไปเราจะเริ่มเรียนรูปกันเองบ้างแล้ว จะเป็นยังไง มาดูกันครับ สวัสดีครับ ยินดีต้อนรับเข้าสู่รายการ ให้ Japanese รายการที่จะให้คุณรู้เรื่องราวเกี่ยวกับญี่ปุ่นมากขึ้น กับผม ซันชิโร่ เช่นเคยครับ หลักไวยกรณ์ 1. รูปสุภาพและรูปธรรมดา (กันเอง) การพูดและการเขียนในภาษาญี่ปุ่นมี 2 ลักษณะคือ รูปสุภาพและรูปธรรดา (กันเอง) รูปธรรมดา = รูปที่ไม่ใช่ ます หรือ です ได้แก่ คำกริยารูปพจนานุกรม (V

วันนี้มาต่อกันกับไวยากรณ์ในบทที่ 19 ของหนังสือมินนะ โนะ นิฮงโกะ โดยจะมาเก็บตกไวยากรณ์ที่เหลือครับ สวัสดีครับ ยินดีต้อนรับเข้าสู่รายการ ให้ Japanese รายการที่จะให้คุณรู้เรื่องราวเกี่ยวกับญี่ปุ่นมากขึ้น กับผม ซันชิโร่ เช่นเคยครับ 2. คำกริยารูป た ことが あります เคย… แล้ว (แสดงประสบการณ์ในอดีต) รูปประโยคนี้มีความหมายว่า ในขณะที่พูด ผู้พูดเคยมีประสบการณ์ทำสิ่งใดสิ่งหนึ่งมาแล้วในอดีต 馬に乗ったことがあります。 เคยขี่ม้า 和牛を食べたことがあります。 เคยกินเนื้อวากิว 日本に来たことがあります。 เคยมาญี่ปุ่น อย่างไรก็ตาม ควรระวังว่าเมื่อจะกล่าวถึงข้อเท็จจริงในอดีตว่าได้กระทำสิ่งใดสิ่งหนึ่ง

วันนี้มาต่อกันกับไวยากรณ์ในบทที่ 19 ของหนังสือมินนะ โนะ นิฮงโกะ โดยจะเน้นไปที่คำกริยารูป た อย่างเดียวก่อนครับ สวัสดีครับ ยินดีต้อนรับเข้าสู่รายการ ให้ Japanese รายการที่จะให้คุณรู้เรื่องราวเกี่ยวกับญี่ปุ่นมากขึ้น กับผม ซันชิโร่ เช่นเคยครับ หลักไวยกรณ์ 1. คำกริยารูป た คำกริยาที่ลงท้ายด้วย た หรือ だ เรียกว่าคำกริยารูป た วิธีผันคำกริยารูป た ทำได้โดยเปลี่ยน て หรือ

มาฝึกหลักไวยกรณ์กันต่อ วันนี้จะเน้นไปที่คำกริยารูปพจนานุกรมครับ ทำไมถึงเรียกว่ารูปพจนานุกรมมาดูกันในตอนนี้ครับ สวัสดีครับ ยินดีต้อนรับเข้าสู่รายการ ให้ Japanese รายการที่จะให้คุณรู้เรื่องราวเกี่ยวกับญี่ปุ่นมากขึ้น กับผม ซันชิโร่ เช่นเคยครับ หลักไวยกรณ์ 1. คำกริยารูปพจนานุกรม 辞書形/普通形 คำกริยารูปพจนานุกรมเป็นรูปพื้นฐานของคำกริยา เป็นรูปที่เราจะใช้หาเวลาเปิดพจนานุกรม ไม่ว่าจะเป็นพจนานุกรมที่เป็นเล่มหรือว่าพจนานุกรมออนไลน์ต่าง ๆ ก็ต้องใช้รูปนี้เปิด (ใช้รูป ます หาจะไม่เจอนะจ้ะ) จึงเป็นรูปที่พื้นฐานมากและสำคัญมาก ๆ ครับ วิธีการผันคำกริยารูป ます เป็นรูปพจนานุกรม หรือที่จริงแล้วคือการผันกลับมาเป็นรูปพจนานุกรมนั้นจะแตกต่างกันไป แล้วแต่กลุ่มของคำกริยาแต่ละกลุ่มอีกเช่นเคย เนี่ยก็เลยบอกให้จำว่าคำกริยาแต่ละคำเป็นกลุ่มไหน

หลังจากเรียนคำกริยารูป ない กันแล้ว เรามาดูไวยากรณ์ที่เกี่ยวข้องในตอนนี้ครับ สวัสดีครับ ยินดีต้อนรับเข้าสู่รายการ ให้ Japanese รายการที่จะให้คุณรู้เรื่องราวเกี่ยวกับญี่ปุ่นมากขึ้น กับผม ซันชิโร่ เช่นเคยครับ คำกริยารูป ない (~ない)でください = กรุณาอย่า…, โปรดอย่า… รูปนี้ใช้บอกหรือข้อร้องคู่สนทนาไม่ให้ทำสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ここで写真を撮らないでください。 กรุณาอย่าถ่ายรูปที่นี่ 私は元気ですから、心配しないでください。 ฉันสบายดี ไม่ต้องเป็นห่วง 今夜、お風呂に入らないでください。 คืนนี้ อย่าอาบน้ำในอ่างอาบน้ำนะครับ ここにゴミを捨てないでください。 กรุณาอย่าทิ้งขยะที่นี่ คำกริยา